[x] ปิดหน้าต่างนี้
Powered by ATOMYMAXSITE 2.5
องค์การบริหารส่วนตำบลสะเอียบ
ยินดีต้อนรับคุณ บุคคลทั่วไป  
English Chinese (Simplified) Chinese (Traditional) French German Italian Japanese Korean Portuguese Russian Spanish Vietnamese Thai     
ค้นหา   
เมนูหลัก
แผนพัฒนา อบต.สะเอียบ
แผนพัฒนาบุคลากร 3 ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567-2569
แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2566-2570
แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2561-2565 เพิ่มเติม ฉบับที่ 3
แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2561-2565 เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลง ฉบับที่ 2
แผนพัฒนาพนักงานส่วนตำบล 3 ปี (พ.ศ.2564-2566)
แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2561-2565 เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลง ฉบับที่ 1
แผนพัฒนาท้องถิ่น พ.ศ.2561-2565
แผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปี พ.ศ.2561 2564 เพิ่มเติม ฉบับที่ 2
แผนพัฒนาท้องถิ่น 4 ปี พ.ศ.2561-2564
แผนดำเนินงาน อบต.สะเอียบ
ผลความก้าวหน้าในการดำเนินงานตามแผนดำเนินงาน พ.ศ.2567 ณ 31 มีนาคม 2567
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น ประจำปี 2566
แผนดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
รายงานผลการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566(รอบ 6 เดือน)
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น ประจำปี 2565
แผนดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566
รายงานผลการดำเนินงานในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.2565 (เดือน 1 ตุลาคม พ.ศ.2564 – 31 มีนาคม พ.ศ.2565)
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริต ประจำปีงบประมาณ 2564
รายงานการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่น ประจำปี 2564
แผนดำเนินงาน ปี 65
ข้อบัญญัติตำบลสะเอียบ
ข้อบัญญัติการกำจัดสิ่งปฏิกูลและมูลฝอย แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2566
ข้อบัญญัติงบประมาณประจำปี 2566
รายงานข้อมูลการออกใบอนุญาตอาชญาบัตรจำนวนสัตว์ที่ถูกฆ่า
หนังสือส่งปศุสัตว์อำเภอสอง
คำสั่งแต่งตั้งพนักงานตรวจโรคสัตว์เพื่อปฏิบัติการตามข้อบัญญัติการควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อการจำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ.2563
คำสั่งแต่งตั้งพนักงานตรวจโรคสัตว์เพื่อปฏิบัติการตามข้อบัญญัติการควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อการจำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ.2561
ข้อบัญญัติการควบคุมการฆ่าสัตว์เพื่อการจำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ.2561
ข้อบัญญัติงบประมาณประจำปี 2564
ข้อบัญญัติงบประมาณประจำปี 2565
ข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลสะเอียบ เรื่อง หลักเกณฑ์การคัดแยกขยะมูลฝอย พ.ศ.2562
งบการเงิน อบต.สะเอียบ
ความก้าวหน้าการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ปีงบประมาณ 2567
ประกาศแผนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567
รายการการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ ปีงบประมาณ พ.ศ.2567
รายงานสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี พ.ศ.2566
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุรายเดือน (6เดือนแรกของปีงบประมาณ พ.ศ.2566)
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565
แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ ปีงบประมาณ 2566
รายงานผลการดำเนินงานตามแผนการใช้จ่ายเงินงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (รอบ 6 เดือน)
รายงานสรุปผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 (รอบ 6 เดือน)
แผนการจัดหาพัสดุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 (ค้างจ่าย)
ระบบสมาชิก
Username :
Password :
[ สมัครสมาชิก ] | [ ลืมรหัสผ่าน ]
สมาชิกทั้งหมด 6 คน
สมาชิกที่กำลังออนไลน์ 0 คน
poll

   คุณคิดว่าเวปนี้เป็นอย่างไร


  1. ดีมาก
  2. ดี
  3. ปานกลาง
  4. แย่
  5. แย่มาก


สรุปผลการดำเนินงาน สปสช.
แผนอัตรากำลัง อบต.สะเอียบ
แผนอัตรากำลัง3ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567-2569
แผนอัตรากำลัง 3 ปี ฉบับปรับปรุง ครั้งที่1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564-2566
แผนอัตรากำลัง 3 ปี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2564-2566
แผนอัตรกำลัง 3 ปี ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 2
แผนอัตรกำลัง 3 ปี ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 1
แผนอัตรากำลัง 3 ปี
แผนพัฒนาพนักงานส่วนตำบล 3 ปี
แผน-ผล ป้องกันการทุจริต
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2567(รอบ 6 เดือน)
การประเมินความเสี่ยงการทุจริต ประจำปี พ.ศ. 2567
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566(รอบ 12 เดือน)
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566(รอบ 6 เดือน)
การประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยงประจำปี 2566
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตเพื่อยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใส (พ.ศ. 2566 – 2570)
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565(รอบ 12 เดือน)
รายงานผลการบริหารความเสี่ยงประจำปี 2565 รอบ 1
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริต ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565(รอบ 6 เดือน)
คู่มือประชาชน
คู่มือการให้บริการประชาชน อบต.สะเอียบ
ศูนย์รับเรื่องราวร้องเรียนฯ


  

  หมวดหมู่ : บทความทางวิชาการ
เรื่อง : เมื่อใดให้ลูกเรียนคอมพิวเตอร์
โดย : admin
เข้าชม : 1395
จันทร์ ที่ 24 เดือน มกราคม พ.ศ.2554 ปักหมุดและแบ่งปัน
     


มีคำถามมากมายเกี่ยวกับการเรียนการสอนคอมพิวเตอร์ของเด็กพรั่งพรูเข้ามาในระยะนี้ ซึ่งคงมีอยู่ในใจของผู้อ่านจำนวนมาก โดยเฉพาะในยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ ยุคการศึกษาแบบไร้พรมแดน ที่มีบทบาทเข้ามาเกี่ยวข้องอยู่มาก จนเกิดความลังเลใจว่า เราจะให้ลูก ได้เริ่มเรียนคอมพิวเตอร์เมื่อใดดี จากหลักปรัชญาแห่งการศึกษาที่สำคัญคือ การจัดการศึกษาให้เหมาะสมกับผู้เรียน ทั้งสภาพความพร้อมและสิ่งแวดล้อม จะต้องเอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ การจัดการศึกษาทั้งที่บ้านและที่โรงเรียน จึงต้องเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพกาลเวลา
ประเด็นอยู่ที่ว่า การนำความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์ให้กับเด็กและเยาวชนของชาติต้องคำนึงถึง สภาพความเหมาะสมต่อการเรียนรู้ การสอนคอมพิวเตอร์ให้กับเด็กจึงกระทำได้ทุกระดับอายุ ขึ้นอยู่กับการนำเนื้อหาใดไปสอน ซึ่งต้องเหมาะสมกับสภาพการรับรู้
ในวัยประถม เด็กเป็นผู้ใฝ่หาและอยากเรียนรู้ มีสภาพการเรียนรู้ที่ค่อนข้างจะรวดเร็ว หากจัดการศึกษาที่เหมาะสม เด็กจะเรียนรู้และเข้าใจในบางสิ่งบางอย่างได้รวดเร็ว ตรงกันข้าม หากนำสิ่งที่ยุ่งยากและซับซ้อนมาสอนเด็กในวัยต้นนี้ เด็กจะปฏิเสธและมีความ ฝังใจว่าสิ่งนั้นเป็นสิ่งยุ่งยาก และจะไม่ยอมรับอีกต่อไป
การให้เด็กได้เรียนคอมพิวเตอร์ในวัยเด็กจึงเสมือนดาบสองคม ที่อาจส่งผลในเชิงบวกหรือลบก็ได้ ผลที่เกิดขึ้นจึงอยู่ที่การจัดการ ศึกษาเป็นสำคัญ สภาพของผู้สอนที่เข้าใจวุฒิภาวะและความต้องการของเด็กเป็นสิ่งที่ต้องระวัง สิ่งใดที่ให้คุณแต่หากใช้ไม่ถูกต้องก็ย่อม ให้โทษได้เช่นกัน
การเรียนคอมพิวเตอร์ในประถมวัยนี้ เป็นเรื่องของความสนุกสนาน ความท้าทายในการค้นหาความจริง ความเพลิดเพลิน เพื่อ เตรียมความพร้อมที่จะไปศึกษาในโอกาสต่อไป การสอนในวัยนี้ จะต้องเน้นสร้างความพึงพอใจเป็นสิ่งง่าย ๆ ที่แฝงด้วยหลักการและ วิธีการคิดเพื่อเสริมสร้างสติปัญญา
ครูผู้สอนคอมพิวเตอร์ในวัยประถมก็มีความสำคัญ ต้องเข้าใจในตัวเด็กเป็นอย่างดี เด็กอาจจะสนุกสนานกับการเล่นเกม สนุกสนาน กับการวาดภาพ การแสดงออกซึ่งความคิดริเริ่มต่าง ๆ ดังนั้นการสร้างบรรยากาศโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเรื่องที่กระทำได้และกระทำได้ดีด้วย
คอมพิวเตอร์จะช่วยสร้างสรรค์เด็กในเรื่องความคิดริเริ่ม เด็กสามารถจินตนาการต่าง ๆ และแสดงออกบนจอภาพได้ สามารถใช้ ลำดับความคิดอย่างเป็นระบบ เพื่อให้คอมพิวเตอร์แสดงในสิ่งที่ตนเองต้องการ และยังสร้างความคิดอย่างมีเหตุมีผลมีความรอบคอบ ในสิ่งที่ตนเองทำ การเรียนคอมพิวเตอร์จึงทำให้เกิดการสร้างสรรค์ใฝ่หาและกระตือรือร้นในการค้นหาสิ่งแปลกใหม่
จากประสบการณ์ทางด้านการศึกษาและงานวิจัยของนักการศึกษาชื่อดัง "เซมอร์ พาเพิร์ด" (Seymour Papert) ศาสตราจารย์แห่ง มหาวิทยาลัย MII ได้เน้นให้เห็นว่า เด็กจำนวนมากในประถมวัยนี้ ได้รับการสอนโดยเฉพาะการสอนคณิตศาสตร์ที่ผิด ทำให้เด็กเหล่านี้ เป็นโรค Mathophobia (โรคกลัวคณิตศาสตร์) และจะไม่ชอบคณิตศาสตร์ไปตลอดชีวิต การที่เด็กไม่ชอบคณิตศาสตร์ เพราะครูผู้สอน สร้างความรู้สึกยุ่งยากซับซ้อนให้กับเด็ก จึงส่งผลเสียให้เด็กฝังใจในสิ่งนั้นไปตลอด
เซมอร์ พาเพิร์ด ได้เขียนหนังสือเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้หลายเล่ม และยังได้พัฒนาการใช้คอมพิวเตอร์สอนเด็ก ในระดับประถมวัยด้วย สิ่งที่เขาให้ความสำคัญคือการสอนแบบมีรูปแบบ สร้างสิ่งที่เป็นความยุ่งยากซับซ้อนอย่างคณิตศาสตร์ให้เป็นสิ่งง่ายสนุกสนานโดยใช้ คอมพิวเตอร์เข้ามามีบทบาท พาเพิร์ดได้พัฒนาภาษาโลโกซึ่งเป็นการใช้คำสั่งสั่งเต่าให้เดินเป็นรูปร่างต่าง ๆ เป็นการเขียนรูปตาม จินตนาการเน้นให้เห็นว่า การเรียนเรขาคณิตเป็นเรื่องสนุกสนานได้
ในวัยประถม การจัดการศึกษาคอมพิวเตอร์ย่อมเป็นไปได้ แต่ต้องให้มีสภาพเหมาะสมกับวัย เน้นความพึงพอใจ ความสนุกสนาน ความเพลิดเพลิน เพื่อแรงกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้และเตรียมพร้อมสำหรับการศึกษาในขั้นสูงต่อไป ครูผู้สอนจะต้องมีความพร้อมทั้ง ในเรื่องคอมพิวเตอร์เอง และดัดแปลงวิธีการสอนให้เหมาะสมกับเด็ก
สำหรับวัยมัธยมศึกษา การจัดการศึกษาย่อมแตกต่างออกไป ในวัยนี้นักเรียนมีความพร้อมในเรื่องของฐานความรู้หลายอย่าง การจัดการศึกษาทางด้านคอมพิวเตอร์จึงมีส่วนเสริมให้ขบวนการสร้างสรรค์ปัญญาเต็มรูปแบบได้
สิ่งที่สำคัญในการศึกษาวันนี้คือ อย่าเน้นในเรื่องวิชาชีพ แต่พยายามเน้นความพร้อมของเยาวชนในเรื่องการเรียนรู้ เน้นให้เห็นว่า คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่จะเข้ามาสู่กระบวนการสร้างสรรค์ต่าง ๆ ได้มากมาย องค์ประกอบแห่งการเรียนรู้ในวัยนี้ จึงเน้นที่ต้องการ สร้างความคิดอย่างเป็นระบบ สร้างความคิดริเริ่มและให้เหตุผลแห่งการมองแบบตรรกศาสตร์ ด้วยความพร้อมที่จะนำคอมพิวเตอร์ ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์กับงานด้านต่าง ๆ
การศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับเด็กและเยาวชนจึงสำคัญอยู่ที่ครูผู้สอน ครูผู้สอนต้องจัดการสร้างขบวนการเรียนรู้ตามความเหมาะสม ไม่นำสิ่งที่เป็นความยุ่งยากซับซ้อน ขบวนการสอนเด็กให้เป็นนักคอมพิวเตอร์ แต่เราต้องการให้เด็กมีความพร้อมที่จะใช้คอมพิวเตอร์ เพื่อประกอบการเรียนและอาชีพต่อไปภายภาคหน้า
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์กำลังมีบทบาทที่สำคัญ โดยเฉพาะสิ่งแวดล้อมมีส่วนเป็นแรงกระตุ้นมาก ในเด็กประถมวัยก็มีวิดีโอเทป เป็นสิ่งยั่วยุ ในเด็กวัยมัธยมศึกษาหรือเยาวชนก็มีสื่อที่ท้าทาย เช่น อินเทอร์เน็ตเป็นตัวกระตุ้น วัยแสวงหานี้จึงเป็นวัยที่อันตรายหาก จัดการทิศทางของการเรียนรู้ไม่ถูกต้อง จึงต้องให้ความสำคัญกับเด็กและเยาวชนมากขึ้น โดยจัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับการเรียนรู้ คอมพิวเตอร์ อย่าให้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องทำลายโดยที่ผู้ปกครองอาจไม่รู้ตัว





Not Rated stars เฉลี่ย : Not Rated จาก 0 ครั้ง.

บทความทางวิชาการ5 อันดับล่าสุด

      อันตรายของการคลอดก่อนกำหนด 5/ก.ย./2566
      การอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำในชุมชน 6/มิ.ย./2565
      แผ่นพับรณรงค์ประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างการรับรู้เกี่ยวกับโทษพิษภัยจากยาเสพติด 11/ก.ค./2564
      แผ่นพับ ประชาสัมพันธ์การจัดการน้ำเสียในชุมชน 15/ก.ค./2563
      แผ่นพับ ประชาสัมพันธ์การป้องกันสาธารณภัย 27/พ.ค./2558




ชื่อ/Email :
ใส่รหัสที่ท่านเห็นลงในช่องนี้
ความคิดเห็น :


กรุณาใช้คำพูดที่สุภาพ และอย่าใช้คำพูดที่พาดพิงถึงบุคคลอื่นให้เสียหาย ขอขอบคุณที่ให้ความร่วมมือ


ข้อความที่ท่านได้อ่าน เกิดจากการเขียนโดยสาธารณชน และส่งขึ้นมาแบบอัตโนมัติ เจ้าของระบบไม่รับผิดชอบต่อข้อความใดๆทั้งสิ้น เพราะไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นความจริงหรือ ชื่อผู้เขียนที่ได้เห็นคือชื่อจริง ผู้อ่านจึงควรใช้วิจารณญาณในการกลั่นกรอง และถ้าท่านพบเห็นข้อความใดที่ขัดต่อกฎหมายและศีลธรรม กรุณาแจ้งที่ pum.paw@gmail.com เพื่อให้ผู้ควบคุมระบบทราบและทำการลบข้อความนั้น ออกจากระบบต่อไป